1899 โดยชาวอังกฤษสามคน ได้พูดคุยกันที่ห้องหนึ่งในโรงแรม โฮเตล ดู นอร์ และเกิดความคิดที่จะสร้างสโมสรคริกเกตและฟุตบอลชื่อ “Milan Football and Cricket Club” ซึ่งตอนเริ่มก่อตั้งใหม่ ๆ คลับแห่งนี้เน้นไปที่คริกเกตมากกว่า แต่เมื่อข่าวค่อย ๆแพร่กระจายออกไป ก็มีผู้คนให้การสนับสนุนฟุตบอลมากขึ้นเรื่อย ๆ โดยมีอัลเฟรด เอ็ดเวิร์ดส์ ทำหน้าที่ประธานสโมสรเป็นคนแรก โดยหลังจากที่ไปขึ้นทะเบียนกับสหภาพฟุตบอลอิตาเลียนแล้ว ทีมก็ได้เข้าร่วมชิงชัยในฟุตบอล รวมทั้งเริ่มสร้างสนามเพื่อใช้ในการเป็นเจ้าบ้าน โดยทำการสร้างสนามที่บริเวณทรอตเตอร์ ซึ่งในปัจจุบันก็คือ สถานีรถไฟกลางนั่นเอง นัดเปิดสนามนัดแรกของสโมสรคือ การที่มิลานแข่งกับทีมเมดิโอลานุม ในวันที่ 11 มีนาคม ค. 1900 และมิลานเอาชนะไปได้ 3-0 ซึ่งผู้เล่น 11 คนแรกของสโมสรประกอบไปด้วย ฮู้ด ชิญญากี ตอร์เรตต้า ลีส์ คิลปิน วาเลริโอ ดูบินี เดวีส์ เนวิลล์ อัลลิสัน ฟอร์เมนติ โดยในขณะนั้น เฮอร์เบิร์ต คิลปิน เป็นทั้งหนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้งสโมสรและเป็นกัปตันทีมฟุตบอล อีกทั้งยังได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้เล่นที่ดีที่สุดของทีมในขณะนั้น แต่ทว่าการแข่งขันอย่างเป็นทางการจริง ๆ มิลานกลับแพ้โตริโน 0-3 เมื่อวันที่ 15 เมษายน ค.
วิเคราะห์บอลเอซี มิลาน-ท็อตแนม ฮ็อทสเปอร์ - THSport.com
เอซี มิลาน - วิกิพีเดียจากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี เอซี มิลานชื่อเต็มAssociazione Calcio Milanฉายา"รอสโซเนรี" (แดง-ดำ) "อิลเดียโวโล" (ปีศาจ)"ปีศาจแดง-ดำ" (ในภาษาไทย)ก่อตั้ง13 ธันวาคม ค. ศ. 1899[1]สนามซานซีโรความจุ80, 018 ที่นั่งประธานเปาโล สกาโรนีผู้จัดการทีมสเตฟาโน ปิโอลีลีกเซเรียอา2021–22อันดับที่ 1 (ชนะเลิศ)เว็บไซต์เว็บไซต์สโมสร สีชุดทีมเหย้า สีชุดทีมเยือน สีชุดที่สาม ฤดูกาลปัจจุบัน สโมสรฟุตบอล เอซี มิลาน (อิตาลี: Associazione Calcio Milan) หรือ เอซี มิลาน (A. C. Milan) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า มิลาน จากประเทศอิตาลี ตั้งอยู่เมืองมิลานก่อตั้งใน ค. 1899[2][3] สโมสรลงเล่นบนลีกสูงสุดของฟุตบอลอิตาลีหรือเซเรียอาเกือบครบทุกฤดูกาลนับตั้งแต่ฤดูกาล 1929–30 เอซี มิลานชนะเลิศถ้วยรางวัลของฟีฟ่าและยูฟ่ารวม 18 ใบ นับเป็นสถิติที่สูงที่สุดอันดับที่ 1 ในประเทศอิตาลีและเป็นสถิติสูงสุดในบรรดาสโมสรอิตาลี[4][5][6][7] ชนะเลิศอินเตอร์คอนติเนนตัลคัพ 3 สมัย (สถิติสูงสุดร่วม), ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลกหนึ่งสมัย, [7] ยูโรเปียนคัพและยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก 7 สมัย (สถิติสูงสุดของอิตาลี), [7] ยูฟ่าซูเปอร์คัพ 5 สมัย (สถิติสูงสุดร่วม) และยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพ 2 สมัย[7] ชนะเลิศเซเรียอา 19 สมัย เป็นสโมสรที่ประสบความสำเร็จเป็นอันดับที่ 2 ในเซเรียอา ร่วมกับคู่ปรับอย่างอินเตอร์มิลาน และรองจากยูเวนตุส [8] สำหรับการแข่งขันอื่น ๆ ในประเทศ สโมสรชนะเลิศโกปปาอีตาเลีย 5 สมัยและซูแปร์โกปปาอีตาเลียนา 7 สมัย[7] สนามเหย้าของมิลานคือ ซานซีโร ซึ่งรู้จักกันในชื่อ สตาดีโอจูเซปเปเมอัซซา เป็นสนามเหย้าร่วมกับคู่ปรับร่วมเมืองอย่างอินแตร์นาซีโอนาเลมีลาโน และเป็นสนามฟุตบอลที่ใหญ่ที่สุดในอิตาลี ความจุ 80, 000 ที่นั่ง[9] สโมสรเป็นคู่ปรับร่วมเมืองกับอินเตอร์ ซึ่งการพบกันของทั้งคู่ถูกเรียกว่าแดร์บีเดลลามาดอนนีนา นับเป็นหนึ่งในการแข่งขันฟุตบอลดาร์บีที่มีผู้ติดตามมากที่สุดในอิตาลี[10] มิลานเป็นหนึ่งในสโมสรที่ร่ำรวยที่สุดในอิตาลี[11] สโมสรเป็นสมาชิกผู้ร่วมก่อตั้งจี-14 ซึ่งเป็นกลุ่มของสโมสรฟุตบอลชั้นนำของยุโรป แต่ต่อมาได้ยุบตัวและถูกแทนที่โดยสมาคมสโมสรฟุตบอลยุโรป[12] ประวัติ[แก้] AC Milan ย่อมาจาก Associazione Calcio Milan ได้ก่อตั้งสโมสรขึ้นเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม ค.
'เปแอสเช-บาเยิร์น', 'มิลาน-สเปอร์ส' ศึก ชปล. 03.00 น. เช็กสถิติ ความ
1981 ซึ่งรายชื่อสปอนเซอร์หน้าอกเสื้อของมิลาน มีดังต่อไปนี้ ผู้สนับสนุนหน้าอกเสื้อ Pooh Jeans 1982-1983 Hitachi 1983-1984 Olio Cuore 1984 Rete 4 1984-1985 Oscar Mondadori 1985-1987 Fotorex U-Bix 1987-1992 Mediolanum 1992-1994 Motta 1994-2006 Opel 2006-2010 Bwin 2010-2020 Fly Emirates ผู้สนับสนุนชุดแข่งขัน[แก้] เอซี มิลาน เริ่มมีผู้สนับสนุนชุดแข่งขันอย่างเป็นทางการตั้งแต่ปี ค. 1978 โดยรายชื่อดังต่อไปนี้ สปอนเซอร์ชุดแข่งขัน 1978-1979 Adidas Adidas – Linea Milan Linea Milan 1982-1984 NR Rolly Go 1985-1986 Gianni Rivera 1986-1990 Kappa 1990-1993 1993-1998 Lotto 1998-2018 2018-2023 PUMA สถิติสโมสรที่น่าสนใจ[แก้] นักเตะที่ลงเล่นมากที่สุดตลอดกาล[แก้] อัปเดตล่าสุด 04/10/2555 อันดับ ชื่อนักเตะ จำนวนนัด 1. เปาโล มัลดีนี 902 2.
ไก่มียวบ! สเปอร์ส ไม่ง่าย "เคน" นำทัพบุกดวล มิลาน ยกแรก 16 ทีม ชปล.
719 3. อเลสซานโดร คอสตาคูร์ตา 663 4. 658 5. เมาโร ตัสซอตติ 583 6. 469 7. เกนนาโร กัตตูโซ 468 8. คลาเรนซ์ ซีดอร์ฟ 432 9. อันเจโล อันกวิลเลตติ 418 10. เชซาเร มัลดินี 412 11. เดเมตริโอ อัลแบร์ตินี 406 12. อันเดรีย ปีร์โล 401 13. 394 14. อัลเบริโก เอวานี 393 15. โรแบร์โต โดนาโดนี 390 16. โจวานนี ตราปัตโตนี 351 17. 342 18. 341 19. คาร์ล-ไฮนซ์ ชเนลลิงเกอร์ 334 20.
2021[15] หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น 1 GK ซิปริอง ทาทารูซานู 2 DF ดาวีเด คาลาเบรีย 4 อิสมาเอล เบนนาเซอร์ 7 MF ซามู กาสตีเยโฆ 11 FW ซลาตัน อิบราฮีมอวิช 12 FF อันเต เรบิช 13 อาเลสซีโอ โรมัญญอลี 14 อันเดรีย คอนตี 17 ราฟาเอล เลเอา 18 ริกการ์โด มอนโตลีโว 19 ธีโอ เอร์นองเดซ 20 ปิแอร์ คาลูลู 22 มาเตโอ มูซัซเชียว 24 ซิมง เคชียร์ 27 ดาเนียล มัลดินี่ 29 ลอเรนโซ โคลอมโบ 33 ราเด ครูนิช 43 เลโอ ดูอาร์เต้ 46 มัตเตโอ กับเบีย 56 อาเลกซิส ซาเลอมาเกิร์ส 79 ฟร็องก์ เกเซีย 16 ไมค์ เมญอง ทำเนียบประธานสโมสร[แก้] ปี ชื่อประธานสโมสร 1899-1909 อัลเฟรด เอ็ดเวิร์ดส์ 1909 จานนิโน คัมเปริโอ 1909-1928 ปิเอโร ปิเรลลี 1928-1929 ลุยจิ ราวาสโก 1929-1933 มาริโอ แบร์นัซโซลี 1933-1935 1935-1936 ปิเอโตร อันโนนี 1936-1939 เอมิลิโอ โคลอมโบ 1939-1940 อาคิลเล อินแวร์นิซซี 1940-1944 อุมแบร์โต ตราบัตโตนี 1944-1945 อันโตนิโอ บูซินี 1945-1954 1954-1963 อันเดรีย ริซโซลี 1963-1965 เฟลิเซ ริวา 1965-1966 เฟเดริโก ซอร์ดิลโล 1966-1967 ลุยจิ คาร์ราโร 1967-1971 ฟรังโก คาร์ราโร 1971-1972 1972-1975 อัลบิโน บูติชคี 1975-1976 บรูโน ปาร์ดี 1976-1977 วิตตอริโอ ดุยนา 1977-1980 เฟลิเซ โคลอมโบ 1980-1982 กาเอตาโน โมรัซโซนี 1982-1986 จูเซ็ปเป ฟารินา 1986 โรซาริโอ โล แวร์เด 1986-2004 ซิลวิโอ แบร์ลุสโคนี 2004-2006 คณะบอร์ดบริหาร 2006-2008 2008-2012 2012-2017 2017 Li Yonghong ทำเนียบผู้จัดการทีม[แก้] ทำเนียบกัปตันทีม[แก้] ชื่อกัปตันทีม 1899-1908 เฮอร์เบิร์ต คิลปิน 1908-1909 เกโรลาโม ราดิเซ 1909-1910 กุยโด โมดา 1910-1911 มักซ์ โทเบียส 1911-1913 จูเซ็ปเป ริซซี 1913-1915 หลุยส์ ฟาน แฮช 1915-1916 มาร์โก ซาลา 1916-1919 อัลโด เคเวนินี 1919-1921 อเลสซานโดร สคาริโอนี 1921-1922 เชซาเร โลวาติ 1922-1924 ฟรานเชสโก โซลเดรา 1924-1926 ปิเอโตร บรอนซินี 1926-1927 จานอันเจโล บาร์ซาน 1927-1929 อับดอน สการ์บี 1929-1930 อเลสซานโดร สเคียโนนี 1930-1933 มาริโอ มัญญอซซี 1933-1934 คาร์โล ริกอตติ 1934-1936 จูเซ็ปเป โบนิซโซนี ลุยจิ แปร์แวร์ซี 1940-1941 บรูโน อาร์คารี 1941-1942 จูเซ็ปเป เมอัซซา 1942-1944 จูเซ็ปเป อันโตนินี เปาโล โตเดสคินี 1945-1949 1949-1952 อันเดรีย โบโนมี 1952-1953 คาร์โล อันโนวาซซี 1953-1954 โอเมโร โตญญอน 1954-1956 กุนนาร์ นอร์ดาห์ล 1956-1961 นิลส์ ลีดโฮล์ม 1961-1962 ฟรานเชสโก ซากัตติ 1962-1966 เชซาเร่ มัลดินี 1966-1975 จานนี ริเวรา โรเมโอ เบเนตติ 1976-1979 1979-1980 อัลแบร์ติโน่ บิก้อน 1980-1981 อัลโด้ มัลเดร่า 1981-1982 ฟูลวิโอ โคลโลวาติ 1982-1997 ฟรังโก บาเรซี 1997-2009 เปาโล มัลดินี 2009-2013 มัสซิโม อัมโบรซินี 2013- ริคาร์โด้ มอนโตลิโว่ ผู้สนับสนุนทีม[แก้] ผู้สนับสนุนหน้าอกเสื้อ[แก้] เอซี มิลาน เริ่มมีสปอนเซอร์ติดหน้าอกเสื้ออย่างเป็นทางการ ตั้งแต่ปี ค.
(((กีฬาสด@@))) มิลาน กับ สเปอร์ส ชมการถ่ายทอดสด 14 กุมภาพันธ์
"สเปอร์ส" ทัพพิการบุกเยือน เอซี มิลาน เกม ชปล. - MSN
ยูฟ่าแชมเปี้ยนส์ลีก UCL คืนวันนี้ เปแอสเช VS บาเยิร์น - ฐานเศรษฐกิจ
Morning Standard - โบรุสเซีย ดอร์ทมุนด์ ยักษ์ใหญ่บุนเดสลีกา สนใจ
แคฟรี-【gc88888】
สเปอร์ส ยอมรับ คิดผิดที่ไม่เซ็นสัญญากับคิม มิน-แจ แม้ ซน ฮึง-มิน จะ
เซบาสเตียโน รอสซี 330 นักเตะที่ยิงประตูมากที่สุดตลอดกาล[แก้] จำนวนประตู 221 อังเดร เชฟเชนโก 175 164 โฮเซ อัลตาฟินี 161 อัลโด โบฟฟี 136 ฟิลิปโป อินซากี 126 มาร์โก ฟาน บาสเทน 124 จูเซ็ปเป ซานตากอสติโน 106 ปิเอริโน ปราติ 102 กาก้า 100 98 อัลแบร์ติโน บิกอน 90 89 เรนโซ บูรินี 88 ปิเอโตร วีร์ดิส 76 มาร์โก ซิโมเน 75 73 ปิเอโตร อาร์คารี 70 ดานิเอเล มัสซาโร โจวานนี โมเรตติ 68 การแข่งขันในกัลโช เซเรีย อา[แก้] ชนะในบ้านที่สกอร์มากที่สุด: ชนะ ปาแลร์โม 9-0, 18 กุมภาพันธ์ ค. 1951 ชนะนอกบ้านที่สกอร์มากที่สุด: ชนะ เจนัว 8-0, 5 มิถุนายน ค. 1955 แพ้ในบ้านที่สกอร์มากที่สุด: แพ้ ยูเวนตุส 1-6, 6 เมษายน ค. 1997 แพ้นอกบ้านที่สกอร์มากที่สุด:แพ้ อเลสซานเดรีย 1-6, 26 มกราคม ค.
1900 ในปี ค. 1919 สโมสรได้เปลี่ยนชื่อเป็น “Milan Football Club” จากนั้นในปี ค. 1936 ก็ได้เปลี่ยนชื่อเป็น “Milan Associazione Sportiva” ต่อมาในปี ค. 1938 เปลี่ยนมาเป็น “Associazione Calcio Milano” สุดท้ายเปลี่ยนมาเป็น “Associazione Calcio Milan” ในปี ค. 1945 และใช้ชื่อนี้มาจนถึงปัจจุบัน เอซี มิลาน ใช้สีแดง-ดำ เป็นสีประจำทีม มีฉายาในภาษาอิตาเลียนว่า “รอสโซเนรี” หรือ “อิล ดิอาโวโล” ส่วนในภาษาไทยเรียกว่า “ปีศาจแดง-ดำ” และเรียกเหล่ากองเชียร์ของสโมสรว่า “มิลานิสตา” เอซี มิลาน ใช้สนาม “ซานซีโร” หรือ “สตาดีโอ จูเซ็ปเป เมอัซซา” ซึ่งเป็นสนามประจำเมืองมิลาน มีความจุโดยประมาณ 80, 074 คน (ปัจจุบัน) เป็นสนามประจำทีม โดยสนามซานซีโร สร้างขึ้นครั้งแรกเมื่อวันที่ 19 กันยายน ค.
เอซี มิลาน vs ท็อตแน่ม ฮ็อตสเปอร์ถ่ายทอดสด - AiScore